คดีทุนทรัพย์ (บาท) |
ค่าทนายความ (บาท) |
ค่าบังคับคดี (บาท) |
ค่าว่าความ (ร้อยละ) |
ไม่เกิน 50,000 |
ขึ้นกับข้อตกลงเป็นกรณี |
ขึ้นกับข้อตกลงเป็นกรณี |
25 |
50,001 ถึง 100,000
|
15,000 |
10,000 |
25 |
100,001 ถึง 300,000 |
30,000 |
12,000 |
25 |
300,001 ถึง 500,000 |
35,000 |
14,000 |
25 |
500,001 ถึง 800,000 |
40,000 |
15,000 |
20 |
800,001 ถึง 1,000,000 |
45,000 |
17,000 |
20 |
1,000,001 ถึง 2,000,000 |
50,000 |
18,000 |
15 |
2,000,001 ถึง 3,000,000 |
60,000 |
19,000 |
15 |
3,000,001 บาทขึ้นไป |
ขึ้นกับข้อตกลงเป็นกรณี |
ขึ้นกับข้อตกลงเป็นกรณี |
15 |
1. ท่านต้องชำระค่าฤชาธรรมเนียม(ค่าขึ้นศาล) และค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการนำส่งคำคู่ความเองเป็นค่าธรรมเนียมตามปกติของศาล (ตามใบเสร็จรับเงิน) ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้
3. ค่าบังคับคดี บริษัทฯ จะเรียกเก็บจากท่านต่อเมื่อมีการบังคับคดี หากไม่มีการบังคับคดีท่านไม่ต้องจ่ายค่าบังคับคดี
4. ค่าว่าความ (อัตราร้อยละ) ทางบริษัทฯ คิดตามจำนวนทุนทรัพย์ที่ฟ้อง (ตามฟ้อง) และบริษัทฯ จะเรียกเก็บจากท่านต่อเมื่อท่านได้รับเงินจากลูกหนี้หรือจำเลยแล้ว (ตามเกณฑ์เงินสดที่ท่านได้รับ)
5. กรณีทนายความไปศาลต่างจังหวัด บริษัทฯ จะเรียกเก็บอัตราค่าเดินทางไปศาลในแต่ละครั้ง ตามอัตราดังต่อไปนี้
***สำหรับในเขตกรุงเทพมหานคร ท่านไม่ต้องชำระค่าเดินทางในส่วนนี้
6. คดีนอกเหนือจากที่กล่าวข้างต้นแล้ว จะตกลงกันตามความยากง่ายของการดำเนินคดี
7. การว่าจ้างมีการทำสัญญาว่าจ้างว่าความทุกครั้ง เพื่อให้ท่านเกิดความมั่นใจในการจ้างทนายความ
ในคดีที่มีการร้องสอดหรือร้องคัดค้านให้เป็นคดีมีข้อพิพาท คิดค่าว่าความ จำนวน 15,000 บาท(หนึ่งหมื่นห้าพันบาทถ้วน)
ก.) คดีที่มีข้อพิพาทจากมูลละเมิด คิดค่าว่าความขั้นต่ำ ตั้งแต่ 20,000 บาท (สองหมื่นบาทถ้วน) ขึ้นไป
ข.) คดีที่มีข้อพิพาทจากนิติกรรมสัญญา คิดค่าว่าความขั้นต่ำ ตั้งแต่ 20,000 บาท (สองหมื่นบาทถ้วน) ขึ้นไป
2.1 กรณีที่ท่านเป็นโจทก์หรือโจทก์ร่วม
***คิดค่าว่าความขั้นต่ำ ตั้งแต่ 40,000 บาท (สี่หมื่นบาทถ้วน) ขึ้นไป
***คิดค่าว่าความขั้นต่ำ ตั้งแต่ 30,000 บาท (สามหมื่นบาทถ้วน) ขึ้นไป
1. หากมีค่าฤชาธรรมเนียมศาล หรือมีค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ท่านต้องเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายเอง (ตามใบเสร็จรับเงิน)
2. กรณีทนายความเดินทางไปศาลต่างจังหวัด บริษัทฯ จะเรียกเก็บค่าเดินทางตามอัตราของบริษัทฯ
3. คดีมรดก ฟ้องแบ่งมรดก คดีที่ดิน ฟ้องแบ่งกรรมสิทธิ์ในที่ดิน ทางภาระจำยอม ทางจำเป็น คดีครอบครองปรปักษ์ คดีละเมิด เรียกค่าเสียหาย ตลอดจนรับเขียนอุทธรณ์ แก้อุทธรณ์ เขียนฎีกา แก้ฎีกา ขอพิจารณาคดีใหม่ ร้องขอกันส่วน ขอรับชำระหนี้ เพิกถอนการขายทอดตลาด ร้องขัดทรัพย์ ร้องขอเฉลี่ยหนี้
คดีอาญา เช่น คดีลักทรัพย์ คดีวิ่งราวทรัพย์ คดีฉ้อโกง คดียักยอกทรัพย์ คดีปล้นทรัพย์ คดีรับของโจร โกงเจ้าหนี้ คดีฆ่าคนตาย คดีข่มขืนกระทำชำเรา คดีพรากผู้เยาว์ คดีบุกรุก คดีขับรถโดยประมาทเป็นเหตุทำให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย คดีหมิ่นประมาท คดีปลอมเอกสารและใช้เอกสารปลอม คดีแจ้งความเท็จ เบิกความเท็จ ฟ้องเท็จ และคดียาเสพติดให้โทษ เป็นต้น
ค่าบริการในการว่าความในศาลชั้นต้น
1. คดีแพ่ง
คดีไม่มีข้อพิพาทหรือคดีไม่มีทุนทรัพย์
เป็นคดีที่มีการร้องขอฝ่ายเดียว เพื่อใช้สิทธิทางกฎหมาย เช่น คดีร้องจัดการมรดก, คดีร้องขอทำนิติกรรมแทนผู้เยาว์ หรือบุคคลไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ เป็นต้น ค่าว่าความคิดขั้นต่ำคดีละ 20,000 บาท (สองหมื่นบาทถ้วน)
หมายเหตุ กรณีมีการคัดค้านหรือมีการต่อสู้คดี ก็จะมีการตกลงกันอีกครั้ง
คดีมีข้อพิพาท หรือคดีมีทุนทรัพย์
กรณีที่ท่านเป็นโจทก์หรือโจทก์ร่วม ท่านต้องชำระค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดีดังต่อไปนี้
เงื่อนไขการดำเนินงาน
คดีมโนสาเร่ ทุนทรัพย์ที่ฟ้อง ไม่เกิน 300,000 บาท เสียค่าขึ้นศาลไม่เกิน 1,000 บาท
คดีมีแพ่งสามัญ ทุนทรัพย์ที่ฟ้อง ไม่เกิน 50 ล้านบาท เสียค่าขึ้นศาล ร้อยละ 2 แต่ไม่เกิน 200,000 บาท ส่วนที่เกิน 50 ล้านบาทขึ้นไป เสียค่าขึ้นศาล ร้อยละ 0.1 บาท
ค่านำหมาย,ค่าประกาศหนังสือพิมพ์ (ถ้ามี), ค่าพาหนะของพยานหมาย (ถ้ามี) เป็นต้น
2. ท่านต้องชำระค่าทนายความตามทุนทรัพย์ก่อนที่จะทำคำฟ้องยื่นต่อศาล
หมายเหตุ
ค่าเดินทางดังกล่าวไม่รวมค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริง เช่น ค่าที่พัก, ค่าตั๋วรถเดินทาง, ค่าน้ำมันรถยนต์, ค่าธรรมเนียมอื่นๆที่ทางราชการ หรือเอกชนออกให้ (ตามใบเสร็จรับเงิน)
กรณีที่ท่านเป็นจำเลยหรือจำเลยร่วมในคดีแพ่ง
คดีที่ท่านถูกฟ้องเป็นจำเลยในคดีแพ่ง
2. คดีอาญา
2.2 กรณีที่ท่านเป็นจำเลย
หมายเหตุ
เผยแพร่ความรู้กฎหมายแก่ทนายความ ทั้งด้านทฤษฎีและปฏิบัติ ให้ความช่วยเหลือประชาชนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมและเป็นผู้ยากไร้ ไม่มีความสามารถในการต่อสู้คดี และขอความร่วมมือจาก ภาครัฐ , องค์กรการกุศล หรือ องค์กรสาธารณะ ทั้งในและนอกประเทศ เพื่อช่วยเหลือประชาชน และคืนความสุขให้แก่ประชาชนเหล่านั้นให้จงได้
เป็นศูนย์กลางของนักกฎหมาย ในการเผยแพร่ความรู้ด้านกฎหมายสู่ประชาชนทั่วไป และส่งเสริมการศึกษากฎหมายระดับเนติบัณฑิต รวมถึงให้คำปรึกษาอรรถคดี การว่าความ